อย่างไรก็ดี ปัจจุบันการ์ดแลน (LAN Card) จึงเริ่มมีความจำเป็นในการใช้งานน้อยลง เพราะว่าเมนบอร์ดส่วนใหญ่จะมี LAN On Board มาในตัว การ์ดแลนดจึงเป็นสิ่งจำเป็นของคอมพิวเตอร์รุ่นก่อน ๆ ที่ไม่มี LAN มาในตัวเท่านั้นคะ
การแปลความหมายของค่าความยากง่าย ในกรณีตัวถูก ค่าืื P จะมีค่าตั้งแต่ 0.00-1.00 ค่า ย มีค่าตั้งแต่ .05-.30
ค่า p ที่ใกล้ ๆ 1.00 แสดงว่าข้อสอบง่าย ค่า p ที่ใกล้ .5 แสดงว่าข้อสอบมีความยากง่ายพอเหมาะ ข้อสอบที่ใช้ได้จะมีค่า p ตั้งแต่ 0.20 – 0.80
ในกรณีตัวลวง ค่า p ก็คือประสิทธิภาพในการลวง ค่า p มีค่าตั้งแต่ .05 -.30 ถือว่าตัวลวงนั้นใช้ได้ ถ้าค่า p ของตัวลวงต่ำกว่า .05 แสดงว่าตัวลวงนั้นไม่มีประสิทธิภาพในการลวง และถ้าค่า p ของตัวลวงมากกว่า .30 อาจแสดงว่าตัวลวงนั้นมีบางส่วนถูก
test
ตอบลบนู๋นิด..อัญชลี รายงานตัวค่ะ
ตอบลบThank you for your kindness to teach about blogger
ตอบลบวันนี้ทำblogสนุกมากค่ะ
ตอบลบรายงานตัวค่ะ
ตอบลบเรียบร้อยค่ะ
ตอบลบวันนี้ได้รับความรู้ใหม่ที่ไม่เคยได้รับมาก่อน ขอบคุณอาจารย์มาก ที่ให้ความรู้ตรงนี้ ผมจะพยายามพัฒนาตนเองในเรื่องการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่กับการนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันให้ทันต่อโลกสมัยใหม่
ตอบลบเรียบร้อยค่ะ
ตอบลบขอบคุณคะ
ตอบลบส่งงานแล้วค่ะ ขอบคุณค่ะ
ตอบลบสวัสดีค่ะ ที่โรงเรียนพัทธยาอรุโณทัยมีระบบประมวลผลการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์
ตอบลบสวัสดีครับอาจารย์ ที่โรงเรียนมีระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย มีการประมวลผลการเรียนด้วยระบบคอมพิวเตอร์โดยบริษัท mas
ตอบลบพิมเปลี่ยนบล็อก เป็น PRIM1.blogspot.com แล้วค่ะอาจารย์
ตอบลบบุญญานุช (พิม) เปลี่ยนบล็อกเป็นชื่อ prim1.blogspot.com นะค่ะ
ตอบลบตอนไม่ลงมือทำก็คิดไปเองว่ายาก แต่เมื่อลงมือทำแล้วก็ไม่เท่าไหร่
ตอบลบข้าน้อย สหรัก รายงานตัว ครับ
ตอบลบข้าน้อย สหรัก วงศาพันธ์ ขอรายงาน
ตอบลบข้าน้อย สหรัก วงศาพันธ์ ขอรายงานตัวครับ
ตอบลบได้รับความรู้แล้วทดลองทำ ตอนแรกรู้สึกว่าตัวเองไม่ได้เรื่อง แต่ความพยายามอยู่ที่ไหนความสำเร็จอยู่ที่นั่นจะสู้ ๆ ครับ
ตอบลบตอนนี้พยายามอัพอยู่คะ แต่คอมไม่ค่อยจะเอื้ออำนวยความสะดวกให้เลย
ตอบลบแต่จะพยายามที่สุดเลยค่ะ
ตอนนี้พยายามอัพอยู่คะ แต่คอมไม่ค่อยเอื้ออำนวยความสะดวกให้เลยค่ะ
ตอบลบแต่จะพยายามให้ดีที่สุดค่ะ
คอมพิวเตอร์สมองมหัศจรรย์
ตอบลบเมื่อวานไม่สบายคะ
ตอบลบไม่ได้มาทำงาน
สวัสดีครับอาจารย์วันนี้ผมเข้ามารายงานตัวแล้วนะครับ
ตอบลบเผยแพร่บทความแล้วนะคะ
ตอบลบอาจารย์ครับทำไม เวลาท่เพื่อนๆ เข้ามาแสดงความคิดเห็น แล้วไม่โชว์ เพราะอะไรครับ
ตอบลบประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ตอบลบจากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการ ทำให้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ต่อ การดำเนินชีวิตประจำวัน ในสังคมเป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อย ที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงาน เอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างานประมวลผล (word processing ) นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน ดังต่อไปนี้
งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำบัญชี งานประมวลคำ และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มา ช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทำให้การ ผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ที่ให้บริการถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงินระหว่างบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย
งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนำคอมพิวเตอร์มา ใช้ในนำมาใช้ในส่วน ของการ คำนวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สำหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะให้ผลที่แม่นยำกว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเร็วขึ้น
งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทำให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลารอ อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสาร ก็ใช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยส่งผลต่อการส่งสัญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจน
งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ จำลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรง สั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยคอมพิวเตอร์จะคำนวณ และแสดงภาพสถาน การณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของโครงการ ต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทำงาน
งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาท และหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ , กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ , กรมสรรพากร ใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น
การศึกษา ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซึ่งมีการนำคอมพิวเตอร์มา ช่วยการสอนในลักษณะ บทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียน ซึ่งทำให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน การเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้องสมุด
จัดทำโดยครูพัชรี สารงาม
โรงเรียนเชียงม่วนวิทยาคม จ.พะเยา
Copyright(c)2006 Ms.patcharee Sanngam. All rights reserved
จำนวนผู้เข้าใช้งาน
รายงานตัวแล้วค่ะ
ตอบลบประวัติของคอมพิวเตอร์
ดูบทความหลักที่ ประวัติและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ อตานาซอฟฟ์-เบอร์รี หนึ่งในคอมพิวเตอร์ที่เก่าแก่ที่สุดของโลก ในรูปเป็นเครื่องจำลองตั้งอยู่ที่ มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตตเป็นเรื่องยากที่จะชี้ชัดลงไปว่าอุปกรณ์ใดจัดเป็นคอมพิวเตอร์ยุคแรก ๆ เพราะคำว่า "คอมพิวเตอร์" เองก็มีการตีความเปลี่ยนไปมาอยู่เสมอ แต่จุดเริ่มของคำนี้หมายถึงคนที่ทำหน้าที่เป็นนักคำนวณในสมัยนั่น
ช่วงปี ค.ศ. 1930 ถึงช่วงปี ค.ศ. 1940 เป็นช่วงที่โลกได้มีคอมพิวเตอร์ที่สามารถโปรแกรมได้และคำนวณผลลัพธ์ได้มีประสิทธิภาพจริง แต่เป็นการยากที่จะตัดสินได้ว่าคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกENIAC (Electronics Numerical Integrator and Computer) เกิดขึ้นในปี1946 และประดิษฐ์โดยจอห์น ดับลิว มอชลีย์ (John W. Mauchly) และ เจ เพรสเพอร์ เอคเกิรต (J. Prespern Eckert) ทำงานโดยใช้หลอดสุญญากาศจำนวน 18,000 หลอด มีน้ำหนัก 30 ตัน ใช้เนื้อที่ห้อง 15,000 ตารางฟุต เวลาทำงานต้องใช้กำลังไฟถึง 140 กิโลวัตต์ คำนวณในระบบเลขฐานสิบ
ค.ศ. 1941 เป็นครั้งแรกที่โลกได้มีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สามารถตั้งโปรแกรมได้อย่างอิสระ ผู้พัฒนาคือ Konrad Zuse และชื่อคอมพิวเตอร์คือ Z1 Computer
ค.ศ. 1941 จอห์น อตานาซอฟฟ์ และ คลิฟฟอร์ด เบอร์รี ที่ มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต ได้ร่วมกันสร้าง คอมพิวเตอร์ อตานาซอฟฟ์-เบอร์รี ซึ่งสามารถประมวลผลเลขฐานสอง
ค.ศ. 1944 John Presper Eckert และ John W. Mauchly ได้ร่วมกันสร้างอีนิแอก ซึ่งใช้หลอดสูญญากาศจำนวน 20,000 หลอด เพื่อสร้างหน่วยประมวลผล และถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกสำหรับการใช้งานทั่วไป โดยมีการประมวลผลแบบทศนิยม โดยหากต้องการตั้งโปรแกรมจะต้องต่อสายเชื่อมต่อเครื่องอุปกรณ์ใหม่ทั้งหมด
ค.ศ. 1948 Frederic Williams และ Tom Kilburn สร้างคอมพิวเตอร์ที่ใช้ หลอดรังสีคาโทด เป็นหน่วยความจำ
ค.ศ. 1947 ถึง 1948 John Bardeen, Walter Brattain และ Wiliam Shockley สร้างคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทราสซิสเตอร์ ถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ
ค.ศ. 1951 John Presper Eckert และ John W. Mauchly ได้พัฒนา UNIVAC Computer ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่มีการขาย
ค.ศ. 1953 ไอบีเอ็ม (IBM) ออกจำหน่าย EDPM เป็นครั้งแรก และเป็นก้าวแรกของไอบีเอ็มในธุรกิจคอมพิวเตอร์
ค.ศ. 1954 John Backus และ IBM ร่วมกันสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ชื่อ FORTRAN ซึ่งเป็นภาษาระดับสูง (high level programming language) ภาษาแรกในประวัติศาสตร์คอมพิวเตอร์
ค.ศ. 1955 (ใช้จริง ค.ศ. 1959) สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด, ธนาคารแห่งชาติอเมริกา, และ บริษัทเจเนอรัลอิเล็กทริก ร่วมกันสร้าง ERMA และ MICR ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกในธุรกิจธนาคาร
ค.ศ. 1958 Jack Kilby และ Robert Noyce เป็นผู้สร้าง Integrated Circuit หรือ ชิป(Chip) เป็นครั้งแรก
ค.ศ. 1962 สตีฟ รัสเซลล์ และ เอ็มไอที ได้พัฒนาเกมคอมพิวเตอร์เป็นครั้งแรกของโลกชื่อว่า "Spacewar"
ค.ศ. 1964 Douglas Engelbart เป็นผู้ประดิษฐ์เมาส์ และ ระบบปฏิบัติการแบบวินโดวส์
ค.ศ. 1969 เป็นปีที่กำเนิด ARPAnet ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของอินเทอร์เน็ต
ค.ศ. 1970 อินเทล] พัฒนาหน่วยความจำชั่วคราวของคอมพิวเตอร์หรือ RAM เป็นครั้งแรก
ค.ศ. 1971 Faggin, Hoff และ Mazor พัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์ตัวแรกของโลกให้อินเทล (Intel)
ค.ศ. 1971 Alan Shugart และ IBM พัฒนา ฟลอปปี้ดิสก์ เป็นครั้งแรก
ค.ศ. 1973 Robert Metcalfe และ Xerox ได้พัฒนาระบบอีเทอร์เน็ต (Ethernet) สำหรับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ค.ศ. 1974 ถึง ค.ศ. 1975 Scelbi และ Mark-8 Altair และ IBM ร่วมกันวางจำหน่ายคอมพิวเตอร์สำหรับผู้ใช้รายย่อยเป็นครั้งแรก
ค.ศ. 1976 ถึง ค.ศ. 1977 ถือกำเนิด Apple I, II และ TRS-80 และ Commodore Pet Computers ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกๆ ของโลก
ค.ศ. 1981 ไมโครซอฟท์ วางจำหนาย MS-DOS ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมที่สุดในช่วงนั้น
ค.ศ. 1983 บริษัทแอปเปิล ออกคอมพิวเตอร์รุ่น Apple Lisa ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์รุ่นแรกที่ใช้ระบบ GUI
ค.ศ. 1984 บริษัทแอปเปิล วางจำหน่ายคอมพิวเตอร์รุ่น แอปเปิล แมคอินทอช ซึ่งทำให้มีการใช้คอมพิวเตอร์อย่างกว้างขวาง
ค.ศ. 1985 ไมโครซอฟท์ วางจำหน่าย ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เป็นครั้งแรก
อาจารย์ค่ะเวลาหนูส่งให้ พี่นิ่ม พี่แอร์ พี่กิ๊ก แล้วมันบอกว่า "จะปรากฏภายหลังหลังจากการอนุมัติแล้ว"มันคืออะไรค่ะ
ตอบลบแล้วพิ่กิ๊กกับพี่นิ่มต้องทำอย่างไรข้อความถึงจะโชว์ค่ะ
ตอบลบขั้นตอนการจัดทำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ตอบลบสามารถแบ่งเป็นขั้นตอนการพัฒนาย่อย ๆ ได้ 16 ขั้นตอน โดยเริ่มจากหัวเรื่องที่กำหนด มีวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายกำกับ ดังนี้
1. ขั้นตอนการวิเคราะห์ (Analysis) ขั้นตอนการวิเคราะห์เนื้อหา มี 3 ขั้นตอนย่อย ดังนี้
1.1 สร้างแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart) โดยเริ่มจากเขียนชื่อวิชาไว้ตรงกลางกระดาน แล้วให้ผู้เชี่ยวชาญในวิชานั้น ๆ จำนวน 4-5 คน ช่วยกันระดมสมองบอกหัวเรื่องที่ควรจะสอนในวิชานั้น เขียนโยงกับชื่อวิชาอย่างอิสระ หรือหากเป็นหัวเรื่องย่อย ก็ให้โยงกับหัวเรื่องหลักต่อไป โดยไม่ทำการลอกแบบของตำราเล่มใดเล่มหนึ่งเลย แผนภูมิที่ได้เรียกว่า แผนภูมิระดมสมอง (Brian Storm Chart)
1.2 สร้างแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart) จากแผนภูมิระดมสมอง นำมาทำการวิเคราะห์ความถูกต้องของทฤษฎี หลักการ และเหตุผลความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันอย่างละเอียด อาจมีการตัด-เพิ่มหัวเรื่องตามเหตุ-ผล และความเหมาะสม จนสามารถอธิบายและตอบคำถามได้ ผลที่ได้เป็นแผนภูมิที่เรียกว่า แผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart)
1.3 สร้างแผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา (Content Network Chart) นำหัวเรื่องต่าง ๆ จากแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart) มาเขียนเป็นโครงข่ายตามหลักการเทคนิคโครงข่าย โดยคำนึงถึงลำดับการเรียนเนื้อหาก่อน-หลัง ความต่อเนื่องของเนื้อหา หรือเนื้อหานั้นสามารถเรียนเนื้อหาขนานกันได้แล้วทำการวิเคราะห์เหตุผลความสัมพันธ์ของเนื้อหาโดยวิธีการวิเคราะห์ข่ายงาน (Network Analysis) จนสมบูรณ์ ผลที่ได้จะเป็นโครงข่ายเนื้อหาที่ต้องการ เรียกว่า แผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา (Content Network Chart)
2. ขั้นออกแบบบทเรียน (Design) มี 2 ขั้นตอนย่อย ดังนี้
2.1 การกำหนดกลวิธีการนำเสนอและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Strategic Presentation Plan and Behavior Objective) โดยเริ่มจากนำ แผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา (Content Network Chart) มาพิจารณากลุ่มหัวเรื่องที่สามารถจัดไว้ในหน่วยการเรียน(Module)เดียวกันได้ ภายใต้กรอบเวลาที่กำหนด ตีเป็นกรอบ ๆ ไว้จนครบหัวเรื่องบนโครงข่ายเนื้อหา จากนั้นนำกรอบหน่วยการเรียน (Module) มาจัดลำดับการนำเสนอตามอันดับและความสัมพันธ์ให้เป็นแนวทางเดียวกับแผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา (Content Network Chart) ซึ่งจะได้ผลเป็นแผนภูมิบทเรียน (Course Flow Chart) แสดงให้เห็นถึงลำดับการเรียนแต่ละหน่วยการเรียน (Module) ทั้งรายวิชา
2.2 สร้างแผนภูมิการนำเสนอในแต่ละหน่วย (Module Presentation Chart) ซึ่งนับว่าเป็นการออกแบบการสอน (Instruction Design) จะต้องออกแบบลำดับการนำเสนอเนื้อหาบทเรียนตามหลักการสอนจริง อันเป็นส่วนสำคัญมากในการประกันคุณภาพการเรียนจากบทเรียน IMMCAI
3. ขั้นพัฒนาบทเรียน (Development) มี 4 ขั้นตอนย่อย ดังนี้
3.1 เขียนรายละเอียดเนื้อหาตามรูปแบบที่ได้กำหนด (Script Development) โดยเขียนเป็นกรอบ ๆ จะต้องเขียนไปตามที่ได้ออกแบบไว้ โดยเฉพาะถ้าเป็น Interactive Multi Media : IMM จะต้องกำหนด ข้อความ ภาพ เสียง สี ฯลฯ และการกำหนดปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ไว้ให้สมบูรณ์
3.2 จัดทำลำดับเนื้อหา (Storyboard Development) เป็นการนำเอากรอบเนื้อหาหรือที่เขียนเป็น Script ไว้ มาเรียบเรียงลำดับการนำเสนอที่ได้วางแผนไว้ ซึ่งจะยังเป็นเอกสารสิ่งพิมพ์อยู่ การลำดับกรอบนี้นับว่าสำคัญมาก
3.3 นำเนื้อหาที่ยังเป็นสิ่งพิมพ์นี้มาตรวจสอบหาค่าความถูกต้อง (Content Correctness) โดยเฉพาะการสร้าง IMMCI จะเป็นการเขียนตำราใหม่ทั้งเรื่อง ควรอาศัยผู้เชี่ยวชาญในวิชานั้น ๆ (Subject Specialist) เป็นผู้ตรวจสอบให้ จากนั้นนำเนื้อหาไปทดลองหาค่า Content
Validity และ Reader Reliability โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป้าหมายมาทดสอบด้วย แล้วปรับปรุงให้สมบูรณ์
3.4 การสร้างแบบทดสอบส่วนต่าง ๆ ต้องนำมาหาค่าความยากง่าย อำนาจจำแนก ความเที่ยง และความเชื่อมั่นทุกแบบทดสอบ และต้องปรับปรุงให้สมบูรณ์ ผลที่ได้ทั้งหมด ทั้งเนื้อหา (ที่จัดอยู่ในโครงสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ด้วยแล้ว) และแบบทดสอบต่าง ๆ รวมกันจะเป็นตัวบทเรียน (Courseware)
4. ขั้นการนำเสนอบทเรียนบนคอมพิวเตอร์(Implementation) มี 3 ขั้นตอนย่อย ดังนี้
4.1 เลือก Software หรือโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะสมและสามารถสนองตอบต่อความต้องการที่กำหนดไว้เป็นตัวจัดการเสนอบทเรียนบนคอมพิวเตอร์
4.2 จัดเตรียมรูปภาพ เสียง หรือการถ่ายวิดีโอหรือภาพนิ่ง หรือ Caption ไว้ให้พร้อมที่จะใช้งาน โดยสร้างเป็นแฟ้ม ๆ
4.3 จัดการนำ Courseware เข้าในโปรแกรม (Coding) ด้วยความประณีตและด้วยทักษะที่ดี ทำการ Edit ภาพ เสียง VDO ให้เรียบร้อยสมบูรณ์ ซึ่งจะได้เป็นบทเรียน 1 วิชา บนคอมพิวเตอร์ตามที่ต้องการ (Subject CAI Software)
5. ขั้นประเมินผล (Evaluation ) มี 3 ขั้นตอนย่อย ดังนี้
5.1 การตรวจสอบคุณภาพของ Package (Quality Evaluation) จัดการให้คณะผู้เชี่ยวชาญทาง IMMCAI ตรวจสอบคุณภาพของ Package แล้วปรับปรุงให้สมบูรณ์
5.2 ทำการทดลองการดำเนินการทดสอบหาประสิทธิภาพ ด้วยกลุ่มตัวอย่างเป้าหมายจำนวนไม่เกิน 10 คน ทำการปรับปรุง และนำผลมากำหนดกลวิธีการหาประสิทธิภาพจริงต่อไป
5.3 ทำการทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพ (Efficiency E1 / E2) ของ Package และหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Effectiveness) จากกลุ่มตัวอย่างเป้าหมายไม่น้อยกว่า 30 คน หากได้ผลตามเป้าหมายที่ต้องการเป็นอันใช้ได้
5.4 จัดทำคู่มือการใช้ Package (User Manual) หรือ Package Instruction ในคู่มือการใช้ควรประกอบไปด้วยหัวเรื่องดังนี้ บทนำ อุปกรณ์ที่ใช้เรียน การกำหนดหน้าจอคอมพิวเตอร์ก่อนเข้าบทเรียน เป้าหมายของบทเรียน ข้อมูลเสริมที่สำคัญ ข้อควรระวัง ข้อมูลผู้พัฒนาบทเรียน และวันที่เผยแพร่บทเรียน
เมื่อได้พัฒนาตาม 16 ขั้นตอนและเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ตามที่ได้มุ่งหวังไว้ เป็นอันว่าได้พัฒนา IMMCAI Package ที่มีคุณภาพสำเร็จและสามารถนำออกเผยแพร่(Publication) ใช้งานต่อไปได้ แต่ควรจะมีระบบติดตามผล (Follow up) เพื่อนำผลมาประกอบการปรับปรุงงานต่อ ไป
วันนี้กว่าจะเข้าได้ใช้เวลานานมากเลยครับ
ตอบลบ**อาจารย์กินข้าวหรือยังค่ะ**
ตอบลบหนูเพิ่งส่งเป็นค่ะ พอส่งเป็นก็สนุก แต่มีเวลาว่างน้อย และที่บ้านไม่มีอินเตอร์เน็ต
วันนี้ไปคุมสอบ ONET ที่ โรงเรียนอักษรศึกษามาคะ
ตอบลบการ์ดแลน
ตอบลบคือ การ์ดที่จะติดตั้งภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็ก เท่ากับ VGA Card หรือ Sound Card การ์ดแลนจะทำหน้าที่รับส่งข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เน็ตเวิร์กอื่น ๆ ที่อยู่บนเครือข่าย/เน็ตเวิร์ก ช่วยให้คอมพิวเตอร์เชื่อมโยงเข้าหากันเป็นเครือข่ายได้เช่นเดียวกับอินเตอร์เน็ต แต่เราเครือข่ายแบบนี้ว่า "เครือข่าย LAN" ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถใช้ข้อมูลและทรัพยากรร่วมกันได้ทั้งหมดคะ ทั้งนี้การ์ดแลนมีหลายประเภทขึ้นกับความเร็วที่ต้องการใช้ เช่น 10 Mbps, 10/100 Mbps, 100 Mpbs นะคะ
อย่างไรก็ดี ปัจจุบันการ์ดแลน (LAN Card) จึงเริ่มมีความจำเป็นในการใช้งานน้อยลง เพราะว่าเมนบอร์ดส่วนใหญ่จะมี LAN On Board มาในตัว การ์ดแลนดจึงเป็นสิ่งจำเป็นของคอมพิวเตอร์รุ่นก่อน ๆ ที่ไม่มี LAN มาในตัวเท่านั้นคะ
คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer นิยมอ่านในภาษาไทยว่า คอม-พิ้ว-เต้อ) คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความสามารถในการคำนวณอัตโนมัติตามคำสั่ง ส่วนที่ใช้ประมวลผลเรียกว่าหน่วยประมวลผล ชุดของคำสั่งที่ระบุขั้นตอนการคำนวณเรียกว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นอาจเป็นได้ทั้ง ตัวเลข ข้อความ รูปภาพ เสียง หรืออยู่ในรูปอื่น ๆ อีกมากมาย
ตอบลบลักษณะทางกายภาพของคอมพิวเตอร์นั้นมีหลากหลาย มีทั้งขนาดที่ใหญ่มากจนต้องใช้ห้องทั้งห้องในการบรรจุ และขนาดเล็กจนวางได้บนฝ่ามือ การจัดแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์สามารถจัดแบ่งได้ตามขนาดทางกายภาพเป็นสำคัญ ซึ่งมักจะแปลผันกับประสิทธิภาพความเร็วในการประมวลผล โดยขนาดคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเรียกว่า ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ใช้กับการคำนวณผลทางวิทยาศาสตร์ ขนาดรองลงมาเรียกว่า เมนเฟรม มักใชัในบริษัทขนาดใหญ่ที่ต้องมีการประมวลผลธุรกรรมทางธุรกิจจำนวนมากๆ สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้ในระดับบุคคลเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่พกพาได้เรียกว่า คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ส่วนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถวางบนฝ่ามือได้เรียกว่า พีดีเอ อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์มีใช้กันอย่างกว้างขวางมาก ซึ่งมีอุปกรณ์หลายๆชนิดได้นำคอมพิวเตอร์ไปใช้เป็นกลไกหลักในการทำงาน เช่น กล้องดิจิทัล เครื่องเล่นเอ็มพีสาม หรือในรถยนต์เองก็มีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ช่วยในการตรวจสอบระบบการทำงานของเครื่องยนต์
ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์โดยรวมแล้ววัดกันที่ความเร็วการประมวลผล ซึ่งตามกฏของมัวร์ (Moore's Law) คอมพิวเตอร์จะเพิ่มประสิทธิภาพเป็นเท่าทวีคูณในทุกปี
คอมพิวเตอร์ยังมีคำไทยคำอื่นคือ คณิตกรณ์ ด้วย
คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer นิยมอ่านในภาษาไทยว่า คอม-พิ้ว-เต้อ) คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความสามารถในการคำนวณอัตโนมัติตามคำสั่ง ส่วนที่ใช้ประมวลผลเรียกว่าหน่วยประมวลผล ชุดของคำสั่งที่ระบุขั้นตอนการคำนวณเรียกว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นอาจเป็นได้ทั้ง ตัวเลข ข้อความ รูปภาพ เสียง หรืออยู่ในรูปอื่น ๆ อีกมากมาย
ตอบลบลักษณะทางกายภาพของคอมพิวเตอร์นั้นมีหลากหลาย มีทั้งขนาดที่ใหญ่มากจนต้องใช้ห้องทั้งห้องในการบรรจุ และขนาดเล็กจนวางได้บนฝ่ามือ การจัดแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์สามารถจัดแบ่งได้ตามขนาดทางกายภาพเป็นสำคัญ ซึ่งมักจะแปลผันกับประสิทธิภาพความเร็วในการประมวลผล โดยขนาดคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเรียกว่า ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ใช้กับการคำนวณผลทางวิทยาศาสตร์ ขนาดรองลงมาเรียกว่า เมนเฟรม มักใชัในบริษัทขนาดใหญ่ที่ต้องมีการประมวลผลธุรกรรมทางธุรกิจจำนวนมากๆ สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้ในระดับบุคคลเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่พกพาได้เรียกว่า คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ส่วนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถวางบนฝ่ามือได้เรียกว่า พีดีเอ อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์มีใช้กันอย่างกว้างขวางมาก ซึ่งมีอุปกรณ์หลายๆชนิดได้นำคอมพิวเตอร์ไปใช้เป็นกลไกหลักในการทำงาน เช่น กล้องดิจิทัล เครื่องเล่นเอ็มพีสาม หรือในรถยนต์เองก็มีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ช่วยในการตรวจสอบระบบการทำงานของเครื่องยนต์
ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์โดยรวมแล้ววัดกันที่ความเร็วการประมวลผล ซึ่งตามกฏของมัวร์ (Moore's Law) คอมพิวเตอร์จะเพิ่มประสิทธิภาพเป็นเท่าทวีคูณในทุกปี
คอมพิวเตอร์ยังมีคำไทยคำอื่นคือ คณิตกรณ์ ด้วย
แฮปปี้วาเลนไทน์เดย์ค่ะ รายงานตัวแล้วค่ะ
ตอบลบสวัสดีค่ะ แฮปปี้วาเลนไทเดย์คะ
ตอบลบปัญหาคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนหนูจะใช้ระบบแลนปัญหาก็คือครูในโรงเรียนจะชอบเอาแฮนไดมาเสียบก็จะชอบเอาไวรัสมาด้วยบางครั้งอินเตอร์เนตก็ร่มบ้างเป็นบางครั้งแต่ไม่บ่อยเท่าไรและระบบสารสนเทศของโรงเรียนชอบมีปัญหาในเรื่องข้อมูล
ตอบลบ***อาจารย์นอนหรือยังค่ะ***
ตอบลบ*วันนี้ข้างบ้านไม่ยอมเปิดเนิต คอมหนูเลยเข้าอินเตอร์เน็ตไม่ได้***
หนูต้องออกมาเข้าร้านเน็ตหน้าปากชอย
อ้อ!อาจารย์ค่ะลืม *แฮปปี้วาเลนไทน์เดย์ค่ะ*ขอให้อาจารย์สุขภาพแข็งแรงค่ะ มีความสุขกับความรักและรักตัวเองให้มากๆนะค่ะ
ตอบลบอาจารย์ค่ะหนูส่งข้อมูลให้"พี่แอร์และพี่ริน"ไม่ได้ค่ะไม่ทราบเป็นเพราะอะไร
ตอบลบอาจายร์ช่วยเช็คข้อมูลให้หนูหน่อยค่ะ ขอบคุณค่ะ
ปัญหาคอมพิวเตอร์ใน ร.ร. ตือ วันเสาร์อาทิตย์ ห้องคอมฯ ปิด ครูเข้าใช้ไม่ได้ค่ะ
ตอบลบประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในโรงเรียน
ตอบลบ1.ใช้ในการเรียนการสอน เช่น ทำแผนการสอน สไลด์
2.ใช้ในการประมวลผลทางการเรียนของนักเรียน
3. บันทึกข้อมูลของบุคคลากรครู และนักเรียน
4. ใช้เป็นแหล่งให้ความรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
5. เป็นสื่อมัลติมิเดีย
อาจารย์คะ อัพบล็อกไว้บ้างแล้วนะคะ จะพยายามเข้ามาอัพเรื่อยๆคะ
ตอบลบสวัสดีวัเเล้วค่ะนจันทร์ค่ะ บุญญานุชเข้ามารายงานตัว
ตอบลบรายงานปัญหาคอม
ตอบลบคะ
อาจารย์ครับมีโปรแกรมอะไรบ้างท่ใช้กำจัด โทรจัง รู้สึกว่าเครื่อง
ตอบลบของผมจะติดไวรัสชนิดนี้แล้วครับ...............
สวัสดีครับอาจารย์....ผม ชัยรัตน์ ค้าไม้ ขอรายงานตัวครับ
ตอบลบทำอย่างไรบล็อกถึงจะโชว์คะ
ตอบลบรายงานตัวก่อนเที่ยงค่ะ
ตอบลบบุญญานุชรายงานตัวเเล้วค่ะ
ตอบลบบุญญานุชมารายงานตัวเเล้วค่ะ
ตอบลบสวัสดีค่ะ***pissy รายงานตัวค่ะ*****
ตอบลบปัญหาคอมที่ ร.ร.คืออินเตอร์เน็ตหลุดบ่อยมากเลยค่ะ เลยทำให้บางวันส่งไม่ได้
ปัญหาคอมที่ ร.ร.คือครูต้องใช้เป็นเวลาและต้องมีครูคอมอยู่ในห้องค่ะ
ตอบลบแวะมารายงานตัวคะ
ตอบลบสวัสดีครับ
ตอบลบงานยุ่งมากครับ
บุญญานุชมารายงานตัวค่ะ ช่วงนี้แกะเพลงเหนื่อยมากค่ะ อาจารย์ค่ะได้เข้าไปดูบล็อกใหม่ของหนูหรือยังค่ะ prim1.blogspot.com น่ะค่ะ
ตอบลบวันนี้ที่ ร.ร.ป.3สอบ N/T ค่ะ
ตอบลบสหรัก รายงานตัวครับ วันนี้ที่โรงเรียนไฟดับ พักหนึ่ง (ประมาณ 1ชม.)
ตอบลบทำให้การระบบคอมพิวเตอร์หยุดชะงัก กว่าจะเปิดใช้ได้ ดีนะที่ดรงเรียนมีระบบสำรองไฟ จึงทำให้ข้าพเจ้าได้รู้ว่า ระบสำรองไฟก็ทำให้การทำงานของเป็นไปได้สะดวกขึ้น แถมยังมีระบบการแบล็คอัพ ข้อมูล อีกด้วย ดีนะครับระบบแบบนี้
สวัสดีคะ
ตอบลบวันนี้ที่โรงเรียนไม่มีปัญหาใดๆคะ
คอมพิวเตอร์ใช้การได้ดีคะ
สวัสดีเพื่อนๆ ป.บัณฑิตทุกท่าน เป็นงัยบ้างสบายดี หรือปล่าว อย่าลืมเตรียมตัวสอบวัดผลเรียบร้อย หรือยัง ถ้ายัง เรีบอ่านนะ จะเอาใจช่วย....
ตอบลบบัวริน แอ๊บแบ้ว ขอรายงานตัวครับ
ตอบลบบล็อกมีปัญหาค่ะ แล้วก็เปิดอ่านของอาจารย์ไม่เป็น เพื่อน ๆ ก็ไม่มีเวลามาดูให้
ตอบลบบุญญานุชมารายงานตัวเเล้วค่ะ สวัสดีตอนเช้าค่ะอาจารย์
ตอบลบเครียดจังเลย พรุ่งนี้จะสอบแล้ว
ตอบลบสวัสดีครับอาจารย์ สบายดีไหมครับ และเพื่อน ป.บัณฑิตทุกท่านว่างัย สบายดีไหมครับ ส่วนข้าพเจ้าสบายดี แต่เครียดเล็กๆน้อยๆ เพราะพรุงนี้จะสอบแล้ว
ตอบลบยังงัยก้เตรียมตัวให้พร้อมก็แล้วกัน ....
การเตรียมตัวสอบมาดี....เท่ากับเราได้ A แล้วครึ่งตัว สู้ๆๆๆๆๆๆๆ
อ่านกันหน่อยจะได้สอบได้
ตอบลบการวัดผลการศึกษาจะมีความตรงและความเที่ยงมากน้อยเพียงใดนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับคุณภาพของเครื่องมือเป็นสำคัญ ถ้าเครื่องมือมีคุณภาพไม่ดี ผลการวัดที่ได้ก็จะมีความคลาดเคลื่อนสูง หรือไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริง ดังนั้นในการสร้างแบบทดสอบจำเป็นจะต้องตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบทั้งก่อนที่จะนำไปใช้และหลังจากใช้แล้วทุกครั้ง ในการตรวจข้อสอบหลังจากนำไปใช้นั้นเป็นการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบโดยอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical data) มาคำนวณเพื่อหาค่าทางสถิติที่ใช้เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพของแบบทดสอบนั้น ซึ่งดัชนีตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบหลังจากนำไปใช้แล้ว สรุปเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบเป็นรายข้อ ได้แก่ ค่าความยากง่าย ของแบบทดสอบ (Difficulty) ค่าอำนาจจำแนก (Porwer of discrimination) และ ค่าดัชนีความไว (Sesitive index)
2. การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบทั้งฉบับ ได้แก่ ค่าความตรง (Vaildity) และค่าความเที่ยงของแบบทดสอบ (Reliability)
การแปลความหมายของค่าความยากง่าย
ในกรณีตัวถูก ค่าืื P จะมีค่าตั้งแต่ 0.00-1.00 ค่า ย มีค่าตั้งแต่ .05-.30
ค่า p ที่ใกล้ ๆ 1.00 แสดงว่าข้อสอบง่าย ค่า p ที่ใกล้ .5 แสดงว่าข้อสอบมีความยากง่ายพอเหมาะ ข้อสอบที่ใช้ได้จะมีค่า p ตั้งแต่ 0.20 – 0.80
ในกรณีตัวลวง ค่า p ก็คือประสิทธิภาพในการลวง ค่า p มีค่าตั้งแต่ .05 -.30 ถือว่าตัวลวงนั้นใช้ได้ ถ้าค่า p ของตัวลวงต่ำกว่า .05 แสดงว่าตัวลวงนั้นไม่มีประสิทธิภาพในการลวง และถ้าค่า p ของตัวลวงมากกว่า .30 อาจแสดงว่าตัวลวงนั้นมีบางส่วนถูก
การคำนวณค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก คือ คุฯสมบัติของข้อสอบในการแบ่งผู้สอบออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อน ใช้สัญลักษณ์ "r" มีสูตรดังนี้
ในกรณีตัวถูก r = หรือ
เมื่อ Rh แทน จำนวนผู้ตอบข้อสอบถูกในกลุ่มสู่
Rl แทน จำนวนืืผู้ผกผู้ตอบข้อสอบถูกในกลุ่มต่ำ
Nh แทน จำนวนผู้เข้าสอบในกลุ่มสูง
Nl แทน จำนวนผู้เข้าสอบในกลุ่มต่ำ
สวัสดีครับอาจารย์ที่โรงเรียนตอนนี้เตรียมงานการแสดงผลงานนักเรียนหนักมากโดยเฉพาะการทดสอบภาษาอังกฤษแทมบริด
ตอบลบสวัสดีคะ
ตอบลบบุญญานุชสวัสดีตอนบ่ายค่ะล
ตอบลบสวัสดีครับ
ตอบลบลองทำแบบที่อาจารย์บอกแล้วนะคะ..ใช่แบบนี้หรือเปล่าคะอาจารย์
ตอบลบป.ล. อาหารมื้อนี้อร่อยมากค่ะ ขอบคุณมากค่ะอาจารย์
บูญญานุชรายงานตัวค่ะ
ตอบลบสวัสดีครับ พี่น้อง ป.บัณฑิตทุกท่าน ข้อสอบการบริหารในชั้นเรียนอยู้ท่ saaharak.blogspot.com เข้าไป copy ได้เลย จะได้ไม่เสียเวลาพิมพ์ ขอให้ทุกคนทำสอบให้ได้นะครับ
ตอบลบปล.ส่งภายในวันที่ 26กุมภาพันธ์ นะครับ Good Bye.
สวัสดีค่ะอาจารย์ pissy ขอรายงานตัวค่ะ
ตอบลบอาจารย์ค่ะ ยังไม่ได้กลับบ้านเลยค่ะ ยุ้งมากเลยค่ะที่ ร.ร.
ตอบลบหายไปหลายวัน กลับมารายงานตัวแล้วค่ะ งานที่อาจารย์สั่ง จะจัดให้เร็ว ๆนี้ค่ะ
ตอบลบ